จุดเริ่มต้นของความขัดแย้ง ย้อนกลับไปยังสงครามโลกครั้งที่ 1 ในปี 1922 เมื่อครั้งที่จักรวรรดิออตโตมันพ่ายแพ้สงคราม ทำให้ดินแดนตกเป็นของอังกฤษ และพื้นที่ดังกล่าวได้ถูกตั้งชื่อว่า “ปาเลสไตน์” ซึ่งมีนครเยรูซาเล็มเป็นเมืองศักดิ์สิทธิ์ โดยก่อนทำสงครามนั้น อังกฤษได้รับปากชาวยิวที่เร่ร่อนอาศัยไปทั่วยุโรป หากช่วยให้ตนชนะสงครามได้ จะมอบดินแดนที่ยึดได้นี้ให้แก่พวกเขา จึงทำให้ชาวยิวเดินทางเข้ามาตั้งถิ่นฐานหลังจากที่อังกฤษได้รับชัยชนะตามพันธสัญญา หลังจากที่ แต่กลับสร้างความไม่พอใจแก่ชาวปาเลสไตน์ที่อาศัยอยู่มาตั้งแต่สมัยพระเจ้าออตโตมันปกครอง จึงกลายเป็นชนวนความขัดแย้ง และการแย่งดินแดนระหว่างของคนทั้ง 2 กลุ่ม โดยฝั่งชาวยิวได้กล่าวอ้างตามพระคัมภีร์ พระเจ้าประทานดินแดนแห่งนี้ให้แก่พวกเขา ในขณะที่ชาวอาหรับอย่างปาเลสไตน์อ้างสิทธิ์การอาศัยอยู่มานานกว่าหลายร้อยปี เมื่อตกลงกันไม่ได้ จึงใช้ความรุนแรงเข้าปะทะและต่อสู้เพื่อแย่งชิงดินแดนเรื่อยมา ก่อตั้งประเทศอิสราเอล กระทั่งสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง มีการจัดตั้งองค์การสหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น (UN) เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติ และทาง UN ได้มีมติแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ รัฐของชาวยิว (อิสราเอล) และ รัฐของชาวอาหรับ (ปาเลสไตน์) โดยให้ นครเยรูซาเล็มเป็นส่วนกลาง ไม่เป็นของฝั่งใดทั้งสิ้น หลังจากที่ประชามติของ UN ได้แบ่งส่วนดินแดนแก่ทั้ง 2 ฝ่าย ชาวยิวได้ประกาศเอกราชตั้งดินแดนของตนเองขึ้นโดยใช้ชื่อว่า...
FlashNews:
ทายนิสัยจากสีผ้าปูที่นอน บ่งบอกความเป็นตัวคุณ
เจ็บป่วยไม่มีสาเหตุ เช็กเลย ใช่ภาวะ SBS หรือป่วยโรคแพ้ตึกอยู่หรือเปล่า
5 อาการที่ต้องเฝ้าระวัง สัญญาณเตือนน้องหมาป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
พระแม่ธรณี พยานแห่งการตรัสรู้ ปราบวสวัสตี ผู้เป็นพญามาร
ย้อนรอยความขัดแย้งอิสราเอลกับปาเลสไตน์ฉบับรวบรัด
ปูอัดทำมาจากอะไร กินปูอัดอันตรายหรือได้ประโยชน์มากกว่ากัน
วิธีกำจัดติ่งเนื้อด้วยตัวเองง่าย ๆ จากของที่มีในบ้าน
แชร์วิธีรับมือกลโกง ป้องกันโดนแก๊งคอลเซ็นเตอร์หลอก
3 สูตรเมนูซุปเพื่อสุขภาพช่วงหน้าฝน เอาใจคนรักอาหารเอเชีย
ซื้อสินค้าแบรนด์เนมอะไรในประเทศอังกฤษให้ถูกใจคนรับและถูกเงินคนซื้อ
ประวัติวันพืชมงคล พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
5 วิธีกำจัดติ่งเนื้อด้วยตนเองจากของในครัว
9 ต้นไม้ใหญ่ปลูกใกล้บ้าน ไม่ทำลายโครงสร้างบ้าน
เนยเทียมกับเนยแท้ต่างกันยังไง เลือกซื้อเนยแบบไหนดีกว่ากัน
วันที่ 27 มีนาคม วันที่ระลึกกองทัพอากาศ
สัญญาณอันตราย “ขนลุก ผมชี้ตั้ง” ขณะอยู่กลางแจ้ง ระวังฟ้าผ่า รีบหาที่หลบภัยด่วน!
ทำไมปลาบางชนิดอาศัยอยู่ในน้ำเย็นกว่าจุดเยือกแข็งได้
แนะวิธีดูแลรักษาที่นอนอย่างไรให้ไร้ไรฝุ่น
3 กุมภาพันธ์ วันทหารผ่านศึก
Category: Politics
3 กุมภาพันธ์ วันทหารผ่านศึก
บทความนี้จะพาทุกคนย้อนกลับไปยังประวัติของวันทหารผ่านศึก เพื่อสรรเสริญถึงความเสียสละ และความกล้าหาญของเหล่าทหารกล้าทั้งหลาย
8 พฤติกรรมเสี่ยง ที่ทำให้โทรศัพท์โดนแฮกข้อมูล
จากการจารกรรมทางออนไลน์ระบาดมากขึ้นเรื่อย ๆ และมีผู้เดือดร้อนเพิ่มจำนวนมากขึ้น โดยความเสียหายที่เกิดขึ้น ยังไม่มีทีท่าว่าจะได้รับการแก้ไขที่เป็นรูปธรรมและได้ผล ทำให้เราต้องเพิ่มความระมัดระวังในการสมาร์ทโฟนให้มากขึ้นกว่าเดิม แต่รู้ไหมว่า การโจรกรรมข้อมูลในมือถือส่วนใหญ่มีความเกี่ยวเนื่องจากพฤติกรรมเสี่ยงที่มาจากผู้ใช้สมาร์ทโฟนเองเช่นกัน เรามาเช็กกันหน่อยว่าพฤติกรรมใดบ้าง และจะป้องกันอย่างไรเพื่อเพิ่มความปลอดภัยในการใช้สมาร์ทโฟน 1. ไม่ได้ตั้งรหัสผ่านบนสมาร์ทโฟนเลย สำหรับคนที่ใช้สมาร์ทโฟนแล้วไม่มีการตั้งรหัสผ่านล็อคเครื่องไว้ หากมือถือหล่นหาย หรือถูกขโมยไปอยู่ในมือคนอื่น มีโอกาสสูงมากที่คนอื่นสามารถรู้ข้อมูลบนสมาร์ทโฟนของคุณ ไมว่าจะเป็นบัญชีธนาคาร รายชื่อผู้ติดต่อ หรือแชทการสนทนาต่าง ๆ ดังนั้น การตั้งรหัสล็อคเครื่องจึงเป็นสิ่งจำเป็นและควรทำเป็นสิ่งแรกเสมอเมื่อมีการเปิดมือถือเครื่องใหม่ รวมไปถึงการสร้าง pincode ในแต่ละแอปพลิเคชันที่คุณใช้บนสมาร์ทโฟน เช่น Line , facebook , googledrive , skype , onedrive แอปหาคู่ เป็นต้น 2. ใช้รหัสผ่านเดียวกันทุกแอคเคาท์ หลายคนที่มักจะตั้งรหัสผ่านเดียวกันหมดทุกแอคเคาท์ ไม่ว่าจะเป็นบัญชีธนาคาร หรือ แอปพลิเคชัน เพราะสะดวกต่อการจดจำ แต่รู้ไหมว่าการทำเช่นนั้น เป็นการอำนวยความสะดวกให้กับเหล่ามิจฉาชีพด้วยเช่นกัน เพราะหากแฮกเกอร์สามารถเจาะเข้าระบบสมาร์ทโฟนคุณได้สำเร็จ และนำรหัสไปลองกับทุกบัญชีที่คุณมีในเครื่อง ก็จะเข้าถึงและสวมรอยได้ง่าย ๆ โดยเฉพาะถ้ารหัสเดียวกับทุกบริการ e-banking คุณก็จะโดนขโมยเงินทางออนไลน์ไปในพริบตา ด้วยเหตุนี้ คุณควรตั้งรหัสแต่ละบัญชีให้แตกต่างกัน...
เตือนภัย!! เช็คให้ดี ก่อนสแกน QR Code อันตรายแฝงที่อาจทำให้คุณเสียเงินโดยไม่รู้ตัว
หลังจากที่กระทรวงดิจิทัล แจ้งเตือนภัย สแกน QR Code จ่ายเงิน ต้องระวังอย่างยิ่ง หากสแกนแล้วไปโผล่หน้าเว็บไซต์อื่นให้กรอกข้อมูลเพิ่ม ต้องรีบกดออกทันที! ศูนย์ช่วยเหลือและจัดการปัญหาออนไลน์ (1212 ETDA) ได้ประกาศเตือนภัยการสแกนคิวอาร์โค้ด หลังมิจฉาชีพใช้กลโกงรูปแบบใหม่ จากการชำระสินค้าและบริการผ่านช่องทางออนไลน์ด้วยการสแกนคิวอาร์โค้ด